วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์

ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันนี้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพีซีได้เข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจำวันอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการเก็บบันทึกข้อมูล การออกแบบ การค้นคว้าหาความรู้ การทำรายงานและเอกสารต่างๆ เป็นต้น ทำให้ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นสิ่งจำเป็น ที่จะต้องเรียนรู้และติดตามความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทางด้านนี้อยู่ตลอดเวลา เพื่อที่จะได้นำความรู้เหล่านี้ไปปรับใช้กับการทำงานของแต่ละคนได้อย่างเหมาะสมและมีปอ่านเพิ่มเติม

การดูแลรักษาคอมพิวเตอร์

วิธีการดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
วิธีการดูแลรักษาแป้นพิมพ์(keyboard)
1.ปัดฝุ่นและทำความสะอาดเป็นประจำ
2.อย่าทำน้ำหกถูกแผงแป้นพิมพ์
3.คลุมผ้าทุกครั้งหลังการใช้งาน
วิธีการดูแลรักษาจอภาพ (Monitor)
1.ทำความสะอาดหน้าจอ
2.อย่านำแม่เหล็กเข้าใกล้จอภาพ
วิธีการดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ (Printer)
1.ปิดเครื่องพิมพ์ทุกครั้งหลังใช้งาน
2.เมื่อกระดาษติดอย่ากระชากให้ค่อยๆดึงออก
วิธีการดูแลรักษาเมาส์ (Mouse)
1.ควรวางเมาส์ไว้ที่แอ่านเพิ่มเติม

วิธีการกำหนดคุณลักษณะคอมพิวเตอร์

วิธีการกำหนดคุณลักษณะคอมพิวเตอร์

ในที่นี้จะกล่าวถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer: PC
แต่ละระดับจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ที่
เหมาะสมกับผู้ใช้งานแตกต่างกันไป โดยมีวิธีการกำหนดคุณลักษณะ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังต่อไปนี้
๑)      สำหรับการใช้งานที่เน้นการทำงานพื้นฐานทั่วไป 
ส่วนมากจะใช้งานเพื่อสร้างเอกสาร รายงาน งานในสำนักงานต่างๆ
รวมถึงการเล่นอินเตอร์เน็ต ซึ่งไอ่านเพิ่มเติม

หลักการเลือกคอมพิวเตอร์

หลักการเลือกคอมพิวเตอร์

      ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการทำงาน
ของหลายองค์กร ทั้งการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล นำเสนอ
ผลงาน รวมทั้งการออกแบบงานต่างๆ ซึ่งลักษณะของงานจะมี
ความแตกต่างกันออกไป เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพตรง
ตามความต้องการของผู้ใช้และคุ้มค่ากับจำนวนเงินที่จ่ายไปผู้ใช้
ควรศึกษาถึงหลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญ
ที่ควรคำนึงถึงและทำความเข้าใจอย่างละเอียดก่อนจะเลือกซื้อคอมพิวเอ่านเพิ่มเติม

หน่วยส่งออก

หน่วยส่งออก
          หน่วยส่งออก (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล
โดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วนความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัส
ต่างๆ  เช่น ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้ อุปกรณืต่างๆ เหล่านี้ได้แก่
        1. จอภาพ (monitor) มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป 
การส่งออกของข้อมูลจะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอัอ่านเพิ่มเติม




หน่วยความจำรอง

หน่วยความจำรอง
          หน่วยความจำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูล (Storage) มีหน้าที่ในการเก็บ
ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ไว้ และสามารถนำกลับมาใช้งานได้อีกตามต้องการ
บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory) ประกอบด้วย
          1.  แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) ไมโครคอมพิวเตอร์
ส่วนใหญ่มีเครื่องขับแผ่นบันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัว แผ่นบันทึกที่ใช้ในปัจจุบัน
มีขนาด 3.5 นิ้ว ตัวแผ่นบัอ่านเพิ่มเติม


หน่วยความจำหลัก

หน่วยความจำหลัก  
          หน่วยความจำหลัก มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บข้อมูลการทำงานของคอมพิวเตอร์
ซึ่งรวมทั้งตัวคำสั่งในโปรแกรมและข้อมูลต่างๆ ที่จะใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะ
กำลังทำงานอยู่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้  

          1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจำ
ที่เก็บข้อมูลสำหรับใช้งานทั่วไป  การอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆเพื่อการเขียน
และการอ่านจะกระทำแบบการเข้าถึงโดยสุ่มคือ เรียกไปที่ตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้
หน่วยความจำนี้เรียกว่า แรม หน่วยความจำประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแส
ไฟฟ้ายังจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้าดับเมื่อใด ข้อมูลก็จะสูญหอ่านเพิ่มเติม